โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus = DM)ชนิดต่างๆมีการจำแนกเป็นชนิดที่พบบ่อยและชนิดที่พบไม่บ่อยดังนี้
- โรคเบาหวานชนิดที่พบบ่อย ได้แก่
- 1.1 โรคเบาหวานแบบขาดอินสุลิน หรือ type 1 diabetes.(T1DM)
- Cause:สาเหตุ เกิดจากภูมิคุ้มกันทำลายเซลของตับอ่อน Autoimmune destruction of pancreatic β-cells ซึ่งเป็นตัวสร้างอินสุลินในร่างกาย ก่อให้เกิดการขาดอินสุลิน insulin deficiency.
- Pathophysiology:กลไกการเกิด Involves T-cell-mediated destruction, เกิดการทำลายเซลโดยแอนติบอดี้ islet cell autoantibodies (ICA), GAD65 autoantibodies, IA-2, and ZnT8 autoantibodies
- Onset: ระยะเวลาเริ่มเกิดโรค มักเป็นในเด็กหรือวัยรุ่น แต่อาจเกิดในผู้ใหญ่ได้ ที่เรียกว่า(Latent Autoimmune Diabetes in Adults, LADA).
- Subtype:
- เบาหวานแบบขาดอินสุลินแต่ไม่พบแอนติบอดี้ เจอในเอเชีย แอฟริกา Idiopathic Type 1 Diabetes: No autoimmunity, more common in Asian and African populations.
- 1.2 โรคเบาหวานแบบไม่ขาดอินสุลิน Non Insulin dependent diabetes (T2DM)
- Cause:สาเหตุ เกิดจากการดื้อต่อการออกฤทธิ์ของอินสุลินในอวัยวะต่างๆ โดยที่ระดับอินสุลินไม่ได้ขาด Insulin resistance with relative insulin deficiency.
- Pathophysiology: กลไกการเกิด มักสัมพันธ์กับบกรรมพันธ์ ที่มีบิดามารดาเป็น ส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับภาวะความอ้วนลงพุง และ เมตาบอลิกซินโดรม Strong genetic predisposition, associated with obesity, metabolic syndrome, and β-cell dysfunction.
- Onset: ระยะเวลาที่เริ่มเป็น จะเป็นในอายุ มากกว่า ชนิด 1 เป็นในผู้ใหญ่ แต่ก็อาจเจอในคนอายุน้อยที่อ้วนได้ More common in adults but increasing in younger populations due to obesity.
- 1.3 เบาหวานในคนตั้งครรภ์ Gestational Diabetes (GDM)
- Cause: สาเหตุ เกิดการดื้อต่ออินสุลินเนื่องมาจากอิทธิพลของฮอร์โมนต่างๆในระหว่างตั้งครรภ์ Glucose intolerance first recognized during pregnancy.
- Pathophysiology:เกิดการดื้อต่ออินสุลินเนื่องมาจากอิทธิพลของฮอร์โมนต่างๆในระหว่างตั้งครรภ์ Increased insulin resistance due to placental hormones (hPL, estrogen, progesterone).
- Risk Factors: ปัจจับเสี่ยง ความอ้วน กรรมพันธ์ เคยเป็นมาก่อน Obesity, family history, prior GDM.
- Complications:ความเสี่ยงต่อมารดาและบุตร อาจทำให้ทารกมีตัวใหญ่กว่าปกติ ทำให้คลอดยาก หรือมีตัวเหลืองหลังคลอด หรือมีภาวะน้ำตาลต่ำหลังคลอด มารดาอาจมีปัญหาเบาหวานต่อเนื่องแม้หลังคลอดแล้ว Fetal macrosomia, neonatal hypoglycemia, maternal T2DM risk.
- 1.1 โรคเบาหวานแบบขาดอินสุลิน หรือ type 1 diabetes.(T1DM)
- โรคเบาหวานที่พบไม่บ่อย (rare type of diabetes mellitus)
- 2.1 Monogenic Diabetes เบาหวานที่เกิดจากยีนที่มีการกลายพันธ์ ได้แก่
- Maturity-Onset Diabetes of the Young (MODY) – Autosomal dominant, non-autoimmune.
- MODY 1 (HNF4A mutation)
- MODY 2 (GCK mutation – mild fasting hyperglycemia)
- MODY 3 (HNF1A mutation – most common MODY)
- MODY 4 (PDX1 mutation)
- MODY 5 (HNF1B mutation – renal abnormalities)
- Neonatal Diabetes Mellitus (NDM) – Diagnosed in the first 6 months of life.
- Transient NDM (e.g., KCNJ11 mutation) – Resolves but may relapse.
- Permanent NDM (e.g., INS, ABCC8 mutation) – Requires lifelong treatment.
- Maturity-Onset Diabetes of the Young (MODY) – Autosomal dominant, non-autoimmune.
- 2.2 Secondary Diabetesเบาหวานที่เกิดจากผลกระทบที่ทำให้ลดการทำงาน islet cells ที่สร้าง อินสุลินในตับอ่อน หรือเมตาบอลิสมของน้ำตาลที่ผิดปกติไป เช่น
- Pancreatic Diseases –เบาหวานที่เกิดจากกกาชชรทำงายเซลตับอ่อน หรือตับอ่อนอักเสบ มะเร็งตับอ่อน Chronic pancreatitis, cystic fibrosis, hemochromatosis, pancreatic carcinoma.
- Endocrinopathies –ภาวะทางต่อมไร้ท่ออื่นๆ เช่น Cushing’s syndrome, acromegaly, pheochromocytoma, glucagonoma, somatostatinoma, hyperthyroidism.
- Drug-Induced Diabetes –ยาหรือสารบางตัว เช่น สเตียรอยด์ Corticosteroids, thiazides, atypical antipsychotics, protease inhibitors.
- 2.3 Autoimmune -associated DM ภาวะออโต้อิมมูน หรือภูมิคุ้มกันทำให้เกิดเบาหวาน
- Latent Autoimmune Diabetes in Adults (LADA) – Slow-progressing T1DM in adults.
- Type B Insulin Resistance Syndrome – Autoantibodies to insulin receptors, often seen with lupus (SLE)
- 2.1 Monogenic Diabetes เบาหวานที่เกิดจากยีนที่มีการกลายพันธ์ ได้แก่
Leave a Reply