ซีเซียม137 และอันตรายต่อสุขภาพอย่างไร
ข่าวการหายไปและพบเจอ สารกัมมันภาพรังสี ซีเซียม 137 (cesium 137) นั้นมีผลกระทบกับเราในแถบภาคตะวันออกอย่างไร? ซีเซียม 137 ที่สูญหาย มีขนาดสารครึ่งช้อนกาแฟ ค่ารังสีเท่ากับ 80 มิลลิคูรี่ (mCI) วัดเมื่อ 1 มีนาคม 2538 ในปัจจุบัน จะเหลือที่ประมาณ 41.14 mCI ตามค่าครึ่งอายุ โดยวัดค่าการแผ่รังสีดังนี้ ระยะ…
อาหารคีโต อันตรายต่อหลอดเลือดและหัวใจ
อาหารคีโต อันตรายต่อหลอดเลือดและหัวใจ ผลการวิจัยใหม่ ยืนยัน ผลการวิจัยใหม่จากสหรัฐอเมริกายืนยันว่าการกินอาหารไขมันสูง LCHF ทำให้มีผลต่อระบบหลอดเลือด CNN newsการทานอาหารชนิดที่เรียกว่าคีโตไดเอดหมายถึงการกินอาหารที่มีไขมันเป็นสัดส่วนมากกว่าคาร์โบไฮเดรต ซึ่งในการศึกษายืนยันแล้วว่าสามารถนำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของไขมันเลวหรือที่เรียกว่าLDL (low density lipoprotein) และทำให้เกิดปัญหาหลอดเลือดอุดตันในหัวใจ ศ. นพ. Lulia จาก Healthy Heart Program Prevention…
AFI สาเหตุ ไข้เฉียบพลันที่พบบ่อย
AFI หรือ Acute Febrile Illness คือไข้ที่เกิดโดยยังไม่สามารถระบุสาเหตุได้ เป็นไข้ฉับพลันในระยะ 7 วัน สาเหตุของไข้เฉียบพลัน ที่พบบ่อย คือการติดเชื้อต่างๆ แต่อย่าลืม ในบางโรคที่ไม่มีการติดเชื้อ เช่น การอักเสบ หรือโรคภูมิคุ้มกันต่างๆ หรือมะเร็งก็สามารถก่อให้เกิดไข้ได้ การติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อรา วัณโรคหรือเชื้อริกเก็ตเซีย (Bacteria , virus…